วิจัยกรุงศรี NO FURTHER A MYSTERY

วิจัยกรุงศรี No Further a Mystery

วิจัยกรุงศรี No Further a Mystery

Blog Article

เกี่ยวกับหุ้น สรุปหุ้น ข้อมูลปิดตลาด

นอกจากนี้ นโยบายการคลังจะทวีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อรองรับความท้าทายด้านอุปทานที่มีแนวโน้มเกิดบ่อยขึ้น สำหรับนโยบายการเงิน อัตราดอกเบี้ยนโยบายของสหรัฐฯ ที่อยู่ในระดับสูง และความเสี่ยงเงินเฟ้อจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ผันผวน อาจทำให้ธนาคารกลางในภูมิภาคอาเซียนส่วนใหญ่ยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้จนถึงกลางปีนี้

อุตุฯ เตือน “อีสาน-ตะวันออก” ฝนตกหนักบางแห่ง ระวังน้ำท่วมฉับพลัน

ปัญหาเชิงโครงสร้างบั่นทอนความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทย

'สหรัฐ' เตรียมส่งเรือ-เครื่องบินรบไปตะวันออกกลางเพิ่ม รับมือภัยจากอิหร่านและพวก

 หน้าแรก คอมมูนิตี้ แท็ก คลับ เลือกห้อง ดูเพิ่มเติม

'วิจัยกรุงศรี'ชี้ส่งออกมีสัญญาณชะลอลง ห่วงตลาดแรงงานยังอ่อนแอหนัก วิจัยกรุงศรี ออกบทวิเคราะห์ ระบุว่า มูลค่าส่งออกเดือนเมษายนแผ่วลง จากผลกระทบที่ชัดชึ้นจากการชะงักงันของห่วงโซ่การผลิต

เมื่อประเด็นด้านความยั่งยืนได้กลายเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ขาดไม่ได้ในยุทธศาสตร์ขององค์กรต่างๆ จึงทำให้การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของทุกภาคส่วนต้องเป็นไปอย่างจริงจังมากขึ้น สะท้อนผ่านมูลค่าตลาดคาร์บอนเครดิตไทยที่พุ่งทะยานจากความต้องการซื้อและต้องการขาย เมื่อมองไปข้างหน้า อุปสงค์และอุปทานคาร์บอนเครดิตจะเติบโตขึ้นได้จากผู้เล่นที่สำคัญทั้งสองฝ่าย ดังต่อไปนี้

วิจัยกรุงศรีเจาะลึก “คาร์บอนเครดิต” กลไกพิชิตเป้าหมายความยั่งยืน

ปัจจัยแวดล้อมในภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม

โดยสรุป อัตราเงินเฟ้อที่พุ่งขึ้นตามราคาอาหาร ยานพาหนะและพลังงาน ประกอบกับตะกร้าการบริโภคที่แตกต่างกันของครัวเรือนไทย ได้เปิดเผยให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมในการฟื้นตัวของรายได้และการบริโภค ซึ่งครัวเรือนรายได้น้อยมีโอกาสในการเจออัตราเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้นสูงกว่าครัวเรือนรายได้สูง ทำให้ค่าจ้างที่แท้จริงปรับตัวลดลงและการบริโภคยังคงอ่อนแอ ด้วยเหตุนี้มาตรการจากภาครัฐจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการบรรเทาผลกระทบต่อครัวเรือนไทยและลดทอนปัจจัยที่อาจกระทบต่อการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในภาพรวม ซึ่งวิจัยกรุงศรีมองว่า มาตรการเพิ่มการจ้างงานและมาตรการกระตุ้นการลงทุนในอุตสาหกรรมการผลิต มีประสิทธิภาพมากที่สุด ขณะที่มาตรการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ อาจไม่ทำให้ค่าจ้างที่แท้จริงเพิ่มขึ้นเท่าที่ควรและผลักให้อัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้น จนอาจซ้ำเติมความเปราะบางของครัวเรือนในระหว่างการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ

วิจัยกรุงศรี มองว่า วิจัยกรุงศรี แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจสำคัญมาจากทั้งปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ  ได้แก่ ความคืบหน้าของการกระจายวัคซีนที่ช่วยหนุนให้ไทยและหลายๆ ประเทศสามารถเปิดประเทศได้กว้างขวางขึ้น การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและผลเชิงบวกจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคส่งผลดีต่อภาคส่งออกของไทยเติบโตได้ต่อเนื่อง การปรับตัวของภาคธุรกิจอาจนำไปสู่วัฏจักรการลงทุนรอบใหม่ แรงสนับสนุนจากมาตรการภาครัฐที่ช่วยกระตุ้นการใช้จ่ายในประเทศ ขณะที่ภาคท่องเที่ยวมีทิศทางปรับดีขึ้นแต่ยังคงเป็นระยะแรกของการฟื้นตัว

วิจัยกรุงศรีทำการศึกษาผ่านการตั้งสมมติฐานในการปรับลดอัตราภาษีลงในแต่ละอุตสาหกรรมของไทย เพื่อสะท้อนว่า หากภาครัฐมีการสร้างกลไกหรือออกมาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายของภาคเอกชนในแต่ละอุตสาหกรรมมากขึ้น จะส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยอย่างไร

ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยงที่รุมล้อม นโยบายภาครัฐอาจเป็นทางออก

Report this page